Please use this identifier to cite or link to this item: http://digital.csmsu.net:8080/library/handle/123456789/137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรพีพร ช่ำชอง-
dc.contributor.authorนายพิชยุทธ บุญตน-
dc.contributor.authorนายยุทธนา สีขวา-
dc.date.accessioned2021-10-31T11:22:51Z-
dc.date.available2021-10-31T11:22:51Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://digital.csmsu.net:8080/library/handle/123456789/137-
dc.description.abstractเทคโนโลยีการตรวจจับวัตถุสามารถค้นหาสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในรูปภาพหรือวิดีโอ โดยสามารถสอนโมเดลการตรวจจับให้จดจำแค่บางสิ่งเพื่อใช้ในบางงานที่มีความเฉพาะเจาะจงได้ เทคโนโลยีการตรวจจับวัตถุในปัจจุบันเริ่มมีให้เห็นในอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไปเช่น กล้องวงจรปิด มือถือ รถยนต์ เป็นต้น เมื่อเทคโนโลยีการตรวจจับวัตถุสามารถนำไปใช้ได้ในหลาย ๆ งาน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงใช้โมเดลการเรียนรู้เชิงลึก (Deep learning) ได้เรียนรู้ความเสียหายของถนนโดยใช้โมเดลที่ผ่านการเรียนรู้มาแล้วที่มีพื้นฐานมาจาก CNN (Convolutional Neural Network) ที่มีชื่อว่า VGG-16 และใช้หลักการการตรวจจับวัตถุแบบ Faster R-CNN ที่มีการสร้างโมเดลแยกออกมาอีกหนึ่งขั้นตอนเพื่อทำงานในการคัดเลือกภาพก่อนจะส่งไปทำนายผลจริงชื่อว่า RPN (Region Proposal Network) โดยเรียนรู้และทดสอบจากภาพถนนจริง ๆ ผลการวัดประสิทธิภาพได้ให้ผลที่น่าพึงพอใจและนำโมเดลปรับใช้ในงานหลาย ๆ ด้านen_US
dc.publisherภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectโครงข่ายประสาทเทียมen_US
dc.subjectการตรวจจับวัตถุen_US
dc.subjectFaster R-CNNen_US
dc.subjectRegion Proposal Networken_US
dc.subjectConvolutional Neural Networken_US
dc.titleระบบจำแนกถนนชำรุดen_US
dc.title.alternativeRoad Classification Systemen_US
Appears in Collections:โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.