Please use this identifier to cite or link to this item:
http://digital.csmsu.net:8080/library/handle/123456789/121
Title: | กระบวนการสำหรับการจำแนกความรู้สึกที่มีข้อมูลไม่สมดุล |
Other Titles: | A Method of Imbalanced Sentiment Classification |
Authors: | นายพีระวัฒน์ บุญบ้านงิ้ว |
Advisors: | จันทิมา พลพินิจ |
Keywords: | การจำแนกเอกสาร;การให้น้ำหนักคำ;ข้อมูลไม่สมดุล;ซัพพอร์ตเวคเตอร์แมชชีน |
Issue Date: | 2563 |
Publisher: | ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ |
Abstract: | การจำแนกความรู้สึก (Sentiment Classification) คือการจำแนกเอกสารตามขั้นความรู้สึกซึ่ง โดยทั่วไปอาจจะจำแนกเป็นความรู้สึกที่เป็นบวก (Positive) ความรู้สึกที่เป็นลบ (Negative) และ ความรู้สึกที่เป็นกลาง (Neutral) โดยการจำแนกความรู้สึกนั้น ได้รับการศึกษามาอย่างต่อเนื่อง เพราะ การประยุกต์ใช้ในหลายลักษณะ แต่โดยทั่วไปมักจะนิยมใช้ในการจำแนกความรู้สึกที่มีการแสดงไว้ใน รูปแบบข้อความ (Text) เช่น ประยุกต์ใช้ในการจัดอันดับความรู้สึกจากข้อความแสดงความคิดเห็นของ ผู้คนที่มีต่อสินค้าและบริการ การประยุกต์ใช้เพื่อวิเคราะห์ความรู้สึกของผู้เรียน การประยุกต์ใช้เพื่อ วิเคราะห์ความรู้สึกของผู้คนในเรื่องการเมือง เป็นต้น ซึ่งปัญหาความไม่สมดุลของข้อมูลในคลาสนั้น เกิด จากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนรู้มีข้อมูลไม่สมดุลกัน โดยกลุ่มที่มีข้อมูลมากกว่าจะเรียกว่า “ข้อมูลกลุ่ม หลัก (Majority Class)” ขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่มีข้อมูลจำนวนน้อยกว่าจะเรียกว่า “ข้อมูลกลุ่มรอง (Minority Class)” เมื่อนำเอาชุดข้อมูลในลักษณะนี้ไปเรียนรู้เพื่อสร้างตัวจำแนกความรู้สึก (Sentiment Classifier) ข้อมูลใหม่ๆ ที่อ่านเข้ามาเพื่อวิเคราะห์เพื่อจำแนกกลุ่มด้วยตัวจำแนกความรู้สึกดังกล่าว ก็มี แนวโน้มที่จะทำนายกลุ่มของข้อมูลนั้นไปยังทิศทางของข้อมูลกลุ่มหลักที่ใช้ในการเรียนรู้ตัวจำแนก ความรู้สึก ดังนั้น ในโครงงานปริญญานิพนธ์ฉบับนี้ จึงได้นำเสนอการศึกษาการแก้ปัญหาความไม่สมดุล ของข้อมูลในการจำแนกความรู้สึกด้วยเทคนิคการให้น้ำหนักคำ 5 เทคนิค คือ TF-IDF, Delta TF-IDF, TF-IDF-ICF, TF-RF และ TF-IGM ร่วมกับแมชชีนเลิร์นนิง 3 ตัว คือ Naïve Bayes, K-Nearest Neighbor และสุดท้าย Convolution Neural Network |
URI: | http://digital.csmsu.net:8080/library/handle/123456789/121 |
Appears in Collections: | โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
01.หน้าปก.pdf | 78.03 kB | Adobe PDF | View/Open | |
02.ใบอนุมัติ.pdf | 62.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
03.บทคัดย่อ.pdf | 67.53 kB | Adobe PDF | View/Open | |
04.กิตติกรรมประกาศ.pdf | 61.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
05.สารบัญ.pdf | 323.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
06.บทที่ 1 บทนำ.pdf | 145.96 kB | Adobe PDF | View/Open | |
07.บทที่ 2 ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.pdf | 443.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
08.บทที่ 3 วิธีดำเนินงานวิจัย.pdf | 1.51 MB | Adobe PDF | View/Open | |
09.บทที่ 4 ผลการทดลอง.pdf | 783.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
10.บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง.pdf | 108.13 kB | Adobe PDF | View/Open | |
11.เอกสารอ้างอิง.pdf | 86.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
12.ภาคผนวก.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
13.บทความวิจัย.pdf | 702.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
14.โปสเตอร์โครงงาน.pdf | 328.97 kB | Adobe PDF | View/Open | |
15.ประวัติผู้จัดทำโครงงาน.pdf | 63.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.